Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)
เป้าหมาย (Understanding Gold)
นักเรียนเข้าใจ และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับตนเอง พร้อมทั้งประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ เพื่อรับประทานเองได้
คำถามหลัก (Big Question)
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าร่างกายของเราไม่ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
ภูมิหลังของปัญหา
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย "กินเป็น อยู่เป็น"
เป้าหมาย (Understanding Gold)
นักเรียนเข้าใจ และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับตนเอง พร้อมทั้งประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ เพื่อรับประทานเองได้
คำถามหลัก (Big Question)
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าร่างกายของเราไม่ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
ภูมิหลังของปัญหา
อาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต
แต่ในปัจจุบันเกิดสภาวะที่เร่งรีบ คนต้องการความสะดวกสะบาย ทำให้อาหารมีหลากหลายรูปแบบ
และง่ายต่อการรับประทาน ส่งผลให้วิถีชีวิตของทุกคนเปลี่ยนไป
จนบางครั้งทำให้ผู้คนขาดการตระหนักถึงประโยชน์ และสารอาหารที่ได้รับในแต่ละมื้อ ว่าเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายหรือไม่
โดยเฉพาะในวัยอนุบาลที่ต้องการสารอาหารให้ครบ 5 หมู่ในปริมาณที่พอดี
เพื่อการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อวัย จึงเป็นสาเหตุให้เด็กหลายคนได้รับสารอาหารที่ไม่ครบถ้วน
ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อร่างกายอีกทั้งเป็นปัจจัยหลักที่ก่อให้เกิดโรคต่างๆ
เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคขาดสารอาหาร ฯลฯ
เพื่อให้นักเรียนตระหนัก
และเห็นคุณค่าของการเลือกบริโภค ดังนั้น
พี่ๆอนุบาล 2 จึงจำเป็นต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วย “กินเป็น อยู่เป็น”
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย "กินเป็น อยู่เป็น"
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถปรับตัวระหว่างการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
และเกิดฉันทะต่อเรื่องที่อยากเรียนรู้
|
||||
Week1
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
สร้างแรงบันดาลใจ/สร้างฉันทะในการเรียนรู้
Key Questions :
นักเรียนชอบทานอาหารอะไรมากที่สุด / เพราะอะไร
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการทำน้ำพริกอ่อง
- Blackboard Share สิ่งที่ได้เรียนรู้สรุปขั้นตอนการทำอาหาร - Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศบริเวณภายในโรงเรียน
- น้ำพริกอ่อง
- การ์ตูน “พ่อครัวตัวจี๊ดหัวใจคับโลก”
- อุปกรณ์ทำแซนวิช |
- ครูนำน้ำพริกอ่อง มาให้นักเรียนชิม แล้วใช้คำถามกระตุ้นการคิด “อาหารมีรสชาติเป็นอย่างไร/
นักเรียนคิดว่ามีส่วนผสมอะไรบ้าง/เพราะเหตุใด”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับรสชาติของอาหารที่ครูนำมาให้ชิม
- อธิบายส่วนผสมพร้อมให้เหตุผล ตามความเข้าใจของตนเอง
- ครูเปิดคลิปการทำน้ำพริกอ่องให้นักเรียนดูแล้วพูดคุยทบทวนอีกครั้ง
เกี่ยวกับส่วนผสมและวิธีการทำ
- นักเรียนสรุปการทำน้ำพริกอ่อง
- ครูให้นักเรียนดู “พ่อครัวตัวจี๊ดหัวใจคับโลก”
แล้วใช้คำถามกระตุ้นต่อ “ มีตัวละครอะไรบ้าง /นักเรียนอยากเป็นตัวละครตัวไหน/เพราะเหตุใด”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ์ตูนที่ดู
-
นักเรียนปั้นดินน้ำมันเป็นตัวละครจากการ์ตูนที่ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “อาหารที่นักเรียนชอบคือไร/แล้วนักเรียนอยากทำอาหารอะไรเพื่อตัวเอง”
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเมนูอาหารที่ทุกคนอยากทำมากที่สุด
- สรุปกระบวนการทำอาหาร
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวน โดยใช้คำถาม “เมนูที่นักเรียนจะทำ
คือทำอย่างไร แล้วทำอย่างไร”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำอาหาร
- นักเรียนลงมือทำอาหารแซนวิชร่วมกัน และแบ่งบันให้กับน้องๆ
-
สรุปความเข้าในในสัปดาห์ที่ 1 พร้อมนำเสนอชิ้นงาน
เป็นรายบุคคล
|
ภาระงาน
- ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำอาหาร
- ร่วมกันทำอาหารแซนวิชใส่ที่ตนเองชอบ
ชิ้นงาน
- สรุปการทำน้ำพริกอ่อง
-
ปั้นดินน้ำมันเกี่ยวกับตัวละคร
-
สรุปกระบวนการทำอาหารแซนวิช
|
ความรู้
นักเรียนสามารถเรียนรู้ปรับตัวระหว่างการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น และเกิดฉันทะต่อเรื่องที่อยากเรียนรู้
ทักษะ:
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ตามหน้าที่ที่รับผิดชอบได้
- สมารถอธิบายส่วนผสมจากน้ำพริกอ่องที่ได้สังเกต และชิมรสชาติได้
- สามารถออกแบบและวางแผนการปั้นตัวละครที่ชอบการ์ตูนที่ดูได้
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเอง และสื่อสารให้ครูและเพื่อนเข้าใจได้เกี่ยวกับสิ่งที่ดูได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถแสดงความเข้าใจในการอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้แล้ว
และสิ่งอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลตามความเข้าใจของตนเองได้
|
||||
Week2
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
- เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว - สิ่งที่อยากเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร?
- ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?
- นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนรู้? - นักเรียนจะตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่ที่อยากเรียนรู้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Blackboard Share ตั้งชื่อหน่วย - Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- พืชผักภายในโรงเรียน
- บริเวณภายในโรงเรียน
|
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจบริเวณภายในโรงเรียนเพื่อสำรวจพืชผัก
และสัตว์ที่สามารถนำมาทำอาหารได้
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "พืชผัก
และสัตว์ต่างๆเหล่านี้นำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง"
- ครู และนักเรียนเลือกเก็บผักที่สามารถกินได้
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับพืชผักแต่ละอย่างที่เลือกเก็บมา
เก็บมาจากที่ไหน/มีกลิ่นอย่างไร/รสชาติเป็นอย่างไร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ผักเหล่านี้ถ้าจะนำไปทำเป็นอาหาร 1 อย่าง จะทำอาหารอะไรได้บ้าง” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักทั้งหมดไปทำอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง - นักเรียนวาดภาพพืชผักที่ได้ลองดมกลิ่น และชิมรสชาติ พร้อมเขียนชื่อลงในสมุด - นักเรียนกลับไปสอบถามคุณแม่หรือผู้ปกครองที่บ้านว่าผักทั้งหมดสามารถนำมาทำอาหาร 1 อย่างแล้วจะทำอะไรได้บ้าง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1
อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักทั้งหมดไปทำอาหาร 1 อย่างร่วมกัน เพื่อจะทำอาหาร โดยแบ่งอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมมาในวันพุธ - นักเรียนเขียนอุปกรณ์ที่ต้องรับผิดชอบนำมาในวันพุธลงในสมุดของตนเอง เพื่อเตรียมเป็นการบ้าน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำอาหารจากผักที่มีอยู่และ
วัตถุดิบที่เตรียมมาเพิ่มเติมเป็น 4 กลุ่มๆละ 5 คน
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอาหารที่ทำขึ้นทั้ง 4 กลุ่ม กลิ่น รสชาติ และส่วนผสม
- นักเรียนเขียนสรุปอาหารที่ทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้น “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใด”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้
พร้อมกับตั้งชื่อหน่วยใน Q.3 นี้
- ครูใช้คำถามกระตุ้น “นักเรียนรู้อะไรบ้างและอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วยที่จะเรียน?” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Q.3 - นักเรียนเขียนชื่อหน่วยพร้อมวาดวาดภาพประกอบตกแต่งให้สวยงาม
- ครูกระตุ้นคำถาม “นักเรียนได้เรียนอะไรบ้างในสัปดาห์ที่ 2”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- นำเสนอชิ้นงานเป็นคู่
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับพืชผักที่เก็บมา
และอาหารที่ทำจากพืชผักทั้งหมด
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นำเสนอชิ้นงาน เป็นคู่
ชิ้นงาน
-
รูปภาพพร้อมชื่อของผักที่เก็บภายในโรงเรียน
- สรุปการทำอาหารจากผักในโรงเรียน - เขียนชื่อหน่วยพร้อมตกแต่งรูปภาพเกี่ยวกับหน่วย |
ความรู้
สามารถแสดงความเข้าใจอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้แล้วและสิ่งอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลตามความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะ:
- สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ตามหน้าที่ที่รับผิดชอบได้
- สมารถอธิบายลักษณะ กลิ่น และรสชาติ
จากผักที่เก็บมาจากการสังเกตและลองชิมได้
- สามารถคิดเมนูอาหารโดยใช้พืชผักทั้งหมดที่เก็บมา
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเอง
และสื่อสารให้ครูและเพื่อนเข้าใจได้เกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากสัตว์ได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมด
|
||||
Week3
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
อาหารจากสัตว์
Key Questions :
- จากพืชผักที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร
/เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
- นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง? (เครื่องต้มยำ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ผักชีฝรั่ง มะนาว)
- นักเรียนคิดว่ายังมีส่วนผสมอะไรอีกที่ใช้ในการทำอาหารของตนเอง?
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหารของนักเรียนมีอะไรบ้าง/ใครจะช่วยเตรียมได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำวัตถุดิบที่มี
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์ ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- พืชผักภายในโรงเรียน
- บริเวณภายในโรงเรียน
- อุปกรณ์ทำอาหาร |
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจบริเวณรอบๆครัวใหญ่ของโรงเรียน
เพื่อสำรวจพืชผักที่จะนำกลับมาทำเป็นอาหาร
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "พืชผักต่างๆเหล่านี้นำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง"
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักต่างๆมาทำเป็นอาหาร - ครูพานักเรียนเลือกเก็บผักที่ต้องการ (เครื่องต้มยำ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ผักชีฝรั่ง มะนาว) - ครูและนักเรียนช่วยกันล้างทำความสะอาดพืชผักที่เก็บมาจากครัวใหญ่
- ครูตั้งคำถามจากสิ่งที่เก็บมา
“จากพืชผักที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร
/เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชผักที่เก็บมาทั้งหมด - ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร 1 อย่างได้
- นักเรียนวาดภาพและเขียนชื่อของพืชผักที่เก็บมาลงในสมุด
- นักเรียนกลับไปสอบถามคุณแม่หรือผู้ปกครองที่บ้านว่าผักทั้งหมดสามารถนำมาทำอาหาร 1 อย่างแล้วจะทำอะไรได้บ้าง - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักทั้งหมดไปทำอาหาร 1 อย่างร่วมกัน เพื่อจะทำอาหาร โดยแบ่งอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมมาในวันพฤหัสบดี - นักเรียนเขียนอุปกรณ์ที่ต้องรับผิดชอบนำมาในวันพุธลงในสมุดของตนเอง เพื่อเตรียมเป็นการบ้าน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำอาหารจากผักที่มีอยู่และ
วัตถุดิบที่เตรียมมาเพิ่มเติมเป็น 4 กลุ่มๆละ 5 คน
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอาหารที่ทำขึ้นทั้ง 4 กลุ่ม กลิ่น รสชาติ และส่วนผสม - นักเรียนเขียนสรุปการทำอาหารเป็นกลุ่ม
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ในสัปดาห์ที่ 3
นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง / เรียนรู้อย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- นำเสนอชิ้นงานเป็นกลุ่ม
|
ภาระงาน
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักต่างๆมาทำเป็นอาหาร
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชผักที่เก็บมาทั้งหมด - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร 1 อย่างได้ - ประกอบอาหารจากวัตถุดิบที่เก็บมาเป็นกลุ่ม
ชิ้นงาน
- วาดภาพและเขียนชื่อพืชผักที่เก็บมาจากครัวใหญ่ - สรุปการทำอาหารเมนูจากสัตว์ |
ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากสัตว์ได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมดได้
ทักษะ:
- สมารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยรู้หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบของตนเอง
-
สามารถออกแบบและวางแผนเมนูง่ายๆจากวัตถุดิบที่มี
- สามารถนำเสนอชิ้นงานให้ครู และเพื่อนๆเข้าใจได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
- สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางกายบอกลักษณะ สี กลิ่น รสชาติ ของพืชผักที่เรียนรู้ได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากสัตว์ได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมด
|
||||
Week4
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
อาหารจากสัตว์
Key Questions :
- จากพืชผักที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร
/เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
- นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง? (เครื่องอ่อม ข่า ตะไคร้ มะเขือ ใบอ่อมแสบ บวบ)
- นักเรียนคิดว่ายังมีส่วนผสมอะไรอีกที่ใช้ในการทำอาหารของตนเอง?
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหารของนักเรียนมีอะไรบ้าง/ใครจะช่วยเตรียมได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำวัตถุดิบที่มี
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- พืชผักภายในโรงเรียน
- บริเวณภายในโรงเรียน
- อุปกรณ์ทำอาหาร |
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจบริเวณรอบๆครัวใหญ่ของโรงเรียน
เพื่อสำรวจพืชผักที่จะนำกลับมาทำเป็นอาหาร
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "พืชผักต่างๆเหล่านี้นำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง"
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักต่างๆมาทำเป็นอาหาร - ครูพานักเรียนเลือกเก็บผักที่ต้องการ (เครื่องอ่อม ข่า ตะไคร้ มะเขือ ใบอ่อมแสบ บวบ) - ครูและนักเรียนช่วยกันล้างทำความสะอาดพืชผักที่เก็บมาจากครัวใหญ่
- ครูตั้งคำถามจากสิ่งที่เก็บมา
“จากพืชผักที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร
/เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชผักที่เก็บมาทั้งหมด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำผัก ทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้ว จะทำอะไรได้บ้าง” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร 1 อย่างได้
- นักเรียนวาดภาพและเขียนชื่อของพืชผักที่เก็บมาลงในสมุด
- นักเรียนกลับไปสอบถามคุณแม่หรือผู้ปกครองที่บ้านว่าผักทั้งหมดสามารถนำมาทำอาหาร 1 อย่างแล้วจะทำอะไรได้บ้าง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1
อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักทั้งหมดไปทำอาหาร 1 อย่างร่วมกัน เพื่อจะทำอาหาร โดยแบ่งอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมมาในวันพฤหัสบดี - นักเรียนเขียนอุปกรณ์ที่ต้องรับผิดชอบนำมาในวันพุธลงในสมุดของตนเอง เพื่อเตรียมเป็นการบ้าน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำอาหารจากผักที่มีอยู่และ
วัตถุดิบที่เตรียมมาเพิ่มเติมเป็น 3 กลุ่มๆละ 6-7 คน
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอาหารที่ทำขึ้นทั้ง 4 กลุ่ม กลิ่น รสชาติ และส่วนผสม
- นักเรียนเขียนสรุปการทำอาหารเป็นกลุ่ม
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ในสัปดาห์ที่ 4 นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง / เรียนรู้อย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- นำเสนอชิ้นงานเป็นกลุ่ม
|
ภาระงาน
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักต่างๆมาทำเป็นอาหาร
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชผักที่เก็บมาทั้งหมด - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร 1 อย่างได้ - ประกอบอาหารจากวัตถุดิบที่เก็บมาเป็นกลุ่ม
ชิ้นงาน
- วาดภาพและเขียนชื่อพืชผักที่เก็บมาจากครัวใหญ่ - สรุปการทำอาหารเมนูจากสัตว์ |
ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากสัตว์ได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมดได้
ทักษะ:
- สมารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยรู้หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบของตนเอง
-
สามารถออกแบบและวางแผนเมนูง่ายๆจากวัตถุดิบที่มี
- สามารถนำเสนอชิ้นงานให้ครู และเพื่อนๆเข้าใจได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
- สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางกายบอกลักษณะ สี กลิ่น รสชาติ ของพืชผักที่เรียนรู้ได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากพืชได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมด
|
||||
Week5
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
อาหารจากพืช
Key Questions :
- จากพืชผักที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร
/เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
- นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง? (ผักบุ้ง ผักกรูด บวบ ฝักทอง โสม )
- นักเรียนคิดว่ายังมีส่วนผสมอะไรอีกที่ใช้ในการทำอาหารของตนเอง?
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหารของนักเรียนมีอะไรบ้าง/ใครจะช่วยเตรียมได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำวัตถุดิบที่มี
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- พืชผักภายในโรงเรียน
- บริเวณภายในโรงเรียน
- อุปกรณ์ทำอาหาร |
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจบริเวณรอบๆครัวใหญ่ของโรงเรียน
เพื่อสำรวจพืชผักที่จะนำกลับมาทำเป็นอาหาร
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "พืชผักต่างๆเหล่านี้นำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง"
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักต่างๆมาทำเป็นอาหาร - ครูพานักเรียนเลือกเก็บผักที่ต้องการ (ผักบุ้ง ผักกรูด บวบ ฝักทอง โสม ) - ครูและนักเรียนช่วยกันล้างทำความสะอาดพืชผักที่เก็บมาจากครัวใหญ่ - ครูตั้งคำถามจากสิ่งที่เก็บมา “จากพืชผักที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร /เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชผักที่เก็บมาทั้งหมด - ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร
1
อย่างได้
- นักเรียนวาดภาพและเขียนชื่อของพืชผักที่เก็บมาลงในสมุด - นักเรียนกลับไปสอบถามคุณแม่หรือผู้ปกครองที่บ้านว่าผักทั้งหมดสามารถนำมาทำอาหาร 1 อย่างแล้วจะทำอะไรได้บ้าง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1
อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับการนำผักทั้งหมดไปทำอาหาร 1 อย่าง ร่วมกัน เพื่อจะทำอาหาร โดยแบ่งอุปกรณ์ที่ต้อง เตรียมมาในวันพฤหัสบดี - นักเรียนเขียนอุปกรณ์ที่ต้องรับผิดชอบนำมาในวันพุธลงในสมุดของตนเอง เพื่อเตรียมเป็นการบ้าน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำอาหารจากผักที่มีอยู่และ
วัตถุดิบที่เตรียมมาเพิ่มเติมเป็น 4 กลุ่มๆละ 5 คน
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอาหารที่ทำขึ้นทั้ง 4 กลุ่ม กลิ่น รสชาติ
และส่วนผสม
- นักเรียนเขียนสรุปการทำอาหารเป็นกลุ่ม
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ในสัปดาห์ที่ 5
นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง / เรียนรู้อย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- นำเสนอชิ้นงานเป็นกลุ่ม
|
ภาระงาน
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำผักต่างๆมาทำเป็นอาหาร
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชผักที่เก็บมาทั้งหมด - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร 1 อย่างได้ - ประกอบอาหารจากวัตถุดิบที่เก็บมาเป็นกลุ่ม ชิ้นงาน - วาดภาพและเขียนชื่อพืชผักที่เก็บมาจากครัวใหญ่ - สรุปการทำอาหารเมนูจากพืช |
ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากสัตว์ได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมดได้
ทักษะ:
- สมารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยรู้หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบของตนเอง
-
สามารถออกแบบและวางแผนเมนูง่ายๆจากวัตถุดิบที่มี
- สามารถนำเสนอชิ้นงานให้ครู และเพื่อนๆเข้าใจได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
- สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางกายบอกลักษณะ สี กลิ่น รสชาติ ของพืชผักที่เรียนรู้ได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถอธิบายพืชผักที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากพืชได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมด
|
||||
Week6
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
อาหารจากพืช
Key Questions :
- จากพืชที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร
/เก็บมาจากที่ไหน /มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
- นักเรียนจะนำผักทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง? (อัญชัน ใบเตย ยานาง ลางจืด )
- นักเรียนคิดว่ายังมีส่วนผสมอะไรอีกที่ใช้ในการทำอาหารของตนเอง?
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหารของนักเรียนมีอะไรบ้าง/ใครจะช่วยเตรียมได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำวัตถุดิบที่มี
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- พืชภายในโรงเรียน
- บริเวณภายในโรงเรียน
- อุปกรณ์ทำน้ำสมุนไพร |
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจบริเวณรอบๆครัวใหญ่ของโรงเรียน
เพื่อสำรวจพืชที่จะนำกลับมาทำเป็นอาหาร
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด "พืชต่างๆเหล่านี้นำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง"
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำพืชต่างๆมาทำเป็นอาหาร - ครูพานักเรียนเลือกเก็บผักที่ต้องการ (อัญชัน ใบเตย ยานาง ลางจืด ) - ครูและนักเรียนช่วยกันล้างทำความสะอาดพืชที่เก็บมาจากครัวใหญ่
-
ครูตั้งคำถามจากสิ่งที่เก็บมา
“จากพืชที่นักเรียนเลือกเก็บมามีชื่อว่าอะไร /มีลักษณะอย่างไร /เก็บมาจากที่ไหน
/มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกันอย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชที่เก็บมาทั้งหมด - ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำพืช ทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1 อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร
1
อย่างได้
- นักเรียนวาดภาพและเขียนชื่อของพืชที่เก็บมาลงในสมุด - นักเรียนกลับไปสอบถามคุณแม่หรือผู้ปกครองที่บ้านว่าผักทั้งหมดสามารถนำมาทำอาหาร 1 อย่างแล้วจะทำอะไรได้บ้าง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะนำพืชทุกอย่างที่เราเก็บมาทำเป็นอาหาร 1
อย่าง แล้วจะทำอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำพืชทั้งหมดไปทำอาหาร 1 อย่างร่วมกัน เพื่อจะทำอาหาร โดยแบ่งอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมมาในวันพฤหัสบดี - นักเรียนเขียนอุปกรณ์ที่ต้องรับผิดชอบนำมาในวันพุธลงในสมุดของตนเอง เพื่อเตรียมเป็นการบ้าน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำอาหารจากพืชที่มีอยู่
และ วัตถุดิบที่เตรียมมาเพิ่มเติมเป็น 2 กลุ่มๆละ 10 คน
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
เกี่ยวกับอาหารที่ทำขึ้นทั้ง
2
กลุ่ม กลิ่น รสชาติ
และส่วนผสม - นักเรียนเขียนสรุปการทำน้ำสมุนไพรเป็นกลุ่ม
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ในสัปดาห์ที่ 6
นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง / เรียนรู้อย่างไร”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้
- นำเสนอชิ้นงานเป็นกลุ่ม
|
ภาระงาน
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำพืชต่างๆมาทำเป็นอาหาร
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของพืชที่เก็บมาทั้งหมด - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่สามารถรวมพืชผักทั้งหมดมาทำเป็นอาหาร 1 อย่างได้ - ประกอบอาหารจากวัตถุดิบที่เก็บมาเป็นกลุ่ม ชิ้นงาน - วาดภาพและเขียนชื่อพืชที่เก็บมาจากครัวใหญ่ - สรุปการทำอาหารเมนูจากพืช |
ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายพืชที่เก็บมาโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากสัตว์ได้หลากหลายเมนูโดยวัตถุดิบที่มีทั้งหมดได้
ทักษะ:
- สมารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยรู้หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบของตนเอง
-
สามารถออกแบบและวางแผนเมนูง่ายๆจากวัตถุดิบที่มี
- สามารถนำเสนอชิ้นงานให้ครู และเพื่อนๆเข้าใจได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
- สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางกายบอกลักษณะ สี กลิ่น รสชาติ ของพืชที่เรียนรู้ได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของข้าวโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากข้าวได้หลากหลาย
|
||||
Week7
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
อาหารจากข้าว
Key Questions :
- ข้าวแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร / มีกลิ่นอย่างไร
/รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกับพืชชนิดอื่นอย่างไร?
- นักเรียนจะนำข้าวมาทำเป็นอาหารอะไรได้บ้าง - นักเรียนคิดว่ายังมีส่วนผสมอะไรอีกที่ใช้ในการทำอาหารของตนเอง? - อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหารของนักเรียนมีอะไรบ้าง/ใครจะช่วยเตรียมได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำวัตถุดิบที่มี
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ข้าว
- อุปกรณ์ในการทำอาหารจากข้าว |
- ครูนำข้าวชนิดต่างๆมาให้นักเรียนดู เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมนิล
ข้าวเหนียว
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ข้าวแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร / มีกลิ่นอย่างไร /รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกับพืชชนิดอื่นอย่างไร” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของแต่ละชนิด - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะนำข้าวแต่ละชนิดไปทำอาหารอะไรได้บ้าง” - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำข้าวไปทำอาหาร - นักเรียนวาดภาพและเขียนชื่อลงในสมุด แล้วกลับไปสอบถามผู้ปกครองว่าสามารถนำข้าวแต่ละชนิดไปทำอาหารอะไรได้บ้าง - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะทำอาหารจากข้าวแต่ละชนิดอย่างไร” - นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำข้าวไปทำอาหาร เมนูต่างๆ เพื่อเลือกมาทำในวันต่อไป - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับอุปกรณ์ และวัตถุดิบในการทำอาหารจากข้าวแต่ละชนิด - นักเรียนแบ่งกันรับผิดชอบนำอุปกรณ์ และวัตถุดิบในการทำอาหาร แล้วเขียนลงในสมุด เพื่อนำไปเตรียมเป็นการบ้าน - ครูและนักเรียนร่วมกันทำอาหารจากข้าวตามที่วางแผนไว้เป็นกลุ่ม จำนวน 3 กลุ่มๆละ 6-7 คน - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการสรุปการทำอาหารจากข้าว - นักเรียนสรุปการทำอาหารเป็นกลุ่ม และนำเสนอชิ้นงานร่วมกัน |
ภาระงาน
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำข้าวมาทำเป็นอาหาร
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย จากการมอง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ของข้าว - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูอาหารที่ทำจากข้าว - ประกอบอาหารจากข้าว
ชิ้นงาน
- วาดภาพและเขียนชื่อเมล็ดข้าว - สรุปการทำอาหารจากข้าว |
ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของข้าวโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำอาหารจากข้าวได้หลากหลาย
ทักษะ:
- สมารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยรู้หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบของตนเอง
-
สามารถออกแบบและวางแผนเมนูง่ายๆจากข้าวได้
- สามารถนำเสนอชิ้นงานให้ครู และเพื่อนๆเข้าใจได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
- สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางกายบอกลักษณะ สี กลิ่น รสชาติ ของข้าวได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของข้าวโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
และทำของว่างจากข้าวได้หลากหลาย
|
||||
Week8
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
ของว่างจากข้าว
Key Questions :
- ข้าวแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร / มีกลิ่นอย่างไร
/รสชาติเป็นอย่างไร/เหมือนหรือต่างกับพืชชนิดอื่นอย่างไร?
- นักเรียนจะนำข้าวมาทำเป็นอาหารอะไรได้บ้าง - นักเรียนคิดว่ายังมีส่วนผสมอะไรอีกที่ใช้ในการทำอาหารของตนเอง? - อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำอาหารของนักเรียนมีอะไรบ้าง/ใครจะช่วยเตรียมได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำวัตถุดิบที่มี
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ข้าว
- อุปกรณ์ในการทำอาหารจากข้าว |
-
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะนำข้าวแต่ละชนิดไปทำของว่างอะไรได้บ้าง”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำข้าวไปทำของว่าง - นักเรียนกลับไปสอบถามผู้ปกครองว่าสามารถนำข้าวแต่ละชนิดไปทำของว่างอะไรได้บ้าง - ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะทำของว่างจากข้าวแต่ละชนิดอย่างไร” - นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำข้าวไปทำของว่าง เมนูต่างๆ เพื่อเลือกมาทำในวันต่อไป - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอุปกรณ์ และวัตถุดิบในการทำของว่างจากข้าวแต่ละชนิด - นักเรียนแบ่งกันรับผิดชอบนำอุปกรณ์ และวัตถุดิบในการทำของว่าง แล้วเขียนลงในสมุด เพื่อนำไปเตรียมเป็นการบ้าน - ครูและนักเรียนร่วมกันทำของว่างจากข้าวตามที่วางแผนไว้เป็นกลุ่ม จำนวน 3 กลุ่มๆละ 6-7 คน - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการสรุปการทำของว่างจากข้าว - นักเรียนสรุปการทำของว่างเป็นกลุ่ม และนำเสนอชิ้นงานร่วมกัน |
ภาระงาน
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำข้าวมาทำเป็นของว่าง
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกับเมนูของว่างที่ทำจากข้าว - ประกอบของว่างจากข้าว
ชิ้นงาน
- วาดภาพและเขียนชื่อเมล็ดข้าว - สรุปการทำของว่างจากข้าว |
ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของข้าวโดยใช้ประสาทสัมผัสทางกาย และทำของว่างจากข้าวได้หลากหลาย
ทักษะ:
- สมารถทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยรู้หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบของตนเอง
-
สามารถออกแบบและวางแผนเมนูง่ายๆจากข้าวได้
- สามารถนำเสนอชิ้นงานให้ครู และเพื่อนๆเข้าใจได้
- มีความสุขกับการเรียนรู้
- สามารถใช้ประสาทสัมผัสทางกายบอกลักษณะ สี กลิ่น รสชาติ ของข้าวได้
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆมีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจจากการเรียนรู้เรื่องอาหารสู่ผู้อื่นได้ผ่านนิทรรศการอาหาร
|
||||
Week
9-10 |
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
(นิทรรศการอาหาร)
Key Questions :
นักเรียนจะจัดนิทรรศการอาหารออกมาอย่างไรให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้ง
Q.3 นี้
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms เพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับเมนูอาหารที่จะถ่ายทอด
- Show and Share ชิ้นงานทั้งหมดในสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- อุปกรณ์ในการทำอาหาร
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะจัดนิทรรศการอาหารออกมาอย่างไรให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้ง
Q.3 นี้”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการออกแบบและวางแผนจัดอาหารให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้ง Q.3
- นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อรับผิดงาน
และหน้าที่ช่วยกันในการจัดนิทรรศการ
- ครูและนักเรียนเตรียมอุปกรณ์สำหรับจัดนิทรรศการ - นักเรียนนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้มาผ่านนิทรรศการอาหารหน้าอาคารอนุบาล - ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานนิทรรศการที่เกิดขึ้น สิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม - นักเรียนสรุปสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม |
ภาระงาน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการออกแบบและวางแผนจัดอาหารให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มาตลอดทั้ง
Q.3
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานนิทรรศการที่เกิดขึ้น สิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม - นิทรรศการอาหาร ชิ้นงาน สรุปสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม |
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้มาตลอด Quarter ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
การคิดสร้างสรรค์ละคร
เพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม
เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สามารถค้นหาข้อมูลจากการสอบถาม ครู
ผู้ปกครองหรือผู้รู้เกี่ยวกับเรื่องที่ตนเอง
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “กินเป็น อยู่เป็น” ระดับชั้นอนุบาล 2 (Quarter
3)
ภาคเรียนที่ 2 / 2558
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1.สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
2. เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
3.อาหารจากสัตว์
4. อาหารจากพืช 5.อาหารจากข้าว 6. นิทรรศการอาหาร - พืช - สัตว์ - ประโยชน์ต่อตัวเรา (คุณค่าทางอาหารที่มีผลต่อร่างกาย)
7.สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้, สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ
กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความ
เต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์
เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี
และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา
มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด
อดออม และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ที่ 7
รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3
ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ ตัก
ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน
เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง
/ เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2
มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “กินเป็น
อยู่เป็น” กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ -
ร้อยลูกปัด
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี - เล่นทรายเปียก / แห้ง - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
-
พับกระดาษ
-
ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
-
ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
-
ประกอบอาหาร
-
เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี
กลิ้งสี พิมพ์สี ฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา
เกมการละเล่น เช่น การโยน-รับลูกบอล กลิ้งบอล การเดาะลูกบอล
- การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น
เคลื่อนไหวประกอบเพลง
ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา ก้าวกระโดด
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน
การวิ่ง การกระโดด คลาน
- การดึง
การดัน การจับ การขว้าง
การเตะ เคาะจังหวะ ตบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา
- การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ เช่น เสียง ลักษณะอาการ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อยลูกปัด ร้อยมาลัยดอกไม้
- การต่อบล็อก ต่อเลโก้
- การระบายสีไม้ สีน้ำ
- การตัดกระดาษ
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม
กีฬา เช่น การรับ-การโยน
- การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร การแต่งกาย
การสวมใส่เสื้อผ้ารองเท้า
ถุงเท้า เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
- การร้องเพลง
การท่องคำคล้องจอง
การทำท่าทางประกอบตามจังหวะดนตรี /คำบรรยาย
- การฟังนิทาน
การเล่านิทาน การแต่งประโยค การพูดถ่ายทอดเรื่องราว
- การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู
เล่นเครื่องเล่น เช่น กระบอกไม้ไผ่ เครื่องเคาะจังหวะ เครื่องตี ฯลฯ
- การเล่นมุมบล็อก การเล่นมุมบทบาทสมมติ การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน
การรอคอยตามลำดับก่อน หลัง
- การบอกความรู้สึก ความต้องการ การรับรู้อารมณ์
ความรู้สึกของผู้อื่น
- การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
เช่น การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การสวมใส่เสื้อผ้ารองเท้า ถุงเท้า การอาบน้ำ แปรงฟัน เป็นต้น
- การรู้บทบาทหน้าที่
- การเป็นผู้นำ – ผู้ตามที่ดี
การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ
รอบตัว เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ธรรมชาติ
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
- การใช้ภาษาสื่อความหมาย และความคิด เช่น การพูด แสดงท่าทางประกอบ
- การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น สี
ขนาด รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก กลิ่น แบบรูปความสัมพันธ์ การจำแนก
การจัดกลุ่ม การเปรียบเทียบ เรียงลำดับ ฯลฯ
- การจดจำชื่อ รูปร่างลักษณะ ความเหมือน
ความแตกต่างของสิ่งต่างๆ รอบตัว
- การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ได้แก่
ตาดู หูฟัง จมูกดมกลิ่น
ลิ้นชิมรส และกายสัมผัส
- การสนทนาถาม-ตอบ จากสิ่งที่ได้ฟัง
ได้ดูและปฏิบัติ เช่น นิทาน เรื่องเล่า ดูคลิปวีดีโอ เพลง คำคล้องจอง เกมการศึกษา ฯลฯ
- การอธิบายให้เหตุผล การแก้ปัญหา
การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- การสื่อความหมายของมิติสัมพันธ์
เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ฯลฯ
- การทดลอง เช่น การตั้งคำถาม การสังเกต
การให้เหตุผล การสรุป ฯลฯ
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “กินเป็น อยู่เป็น” กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น
เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง
คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที
ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น
แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก
การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สี
น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น
Sit down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง
เข้าใจความหมาย
สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name ?
My name is…….. What
is this ? It’s a…….
What do like ?
I like ……………
- ร้องเพลง
เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น
เกี่ยวกับอวัยวะ
เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต
ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน
A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ
ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ / นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ตัวเรา
รู้จักชื่อ นามสกุล
รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ
วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด
ปลอดภัย
การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว หรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1. หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง
5
4. หน่วยเนื้อ นม
ไข่
5. หน่วยอาหาร
|
บุคคล และสถานที่
เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน
รวมทั้งบุคคลต่างๆ
ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยครอบครัว
2. หน่วยโรงเรียน
3. หน่วยชุมชน
4. หน่วยบุคคลสำคัญ
5. หน่วยเมืองไทย
6. หน่วยวันสำคัญ เช่น
วันพ่อ วันแม่ วันครู
วันเด็ก ฯลฯ
|
ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต
รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น
ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
ฯลฯ
หน่วยสาระ
1. หน่วยสัตว์
2. หน่วยผีเสื้อ
3. หน่วยน้ำ
4. หน่วยพืช ผัก
ผลไม้
5. หน่วยดอกไม้
6. หน่วยอากาศ
7. หน่วยกลางวัน กลางคืน
8. หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9. หน่วยฤดูกาล
10. หน่วยตาวิเศษ
|
สิ่งต่างๆ รอบตัว
เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด
รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก
ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว
สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยการคมนาคม
2. หน่วยการสื่อสาร
3. หน่วยพลังงาน
4. หน่วยวิทยาศาสตร์
5. หน่วยคณิตศาสตร์
6. หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7. หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8. หน่วยของเล่น ของใช้
|